คลังความรู้สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต
สืบค้นด้วยแบบสอบถามประเภทนี้

สืบค้นเฉพาะระเบียนข้อมูลประเภทเหล่านี


การสืบค้นขั้นสูง (เฉพาะรายการเท่านั้น)

infographic PBA

Dublin Core

ชื่อเรื่อง

คำบรรยาย

“วาคีน ฟินิกซ์” ผู้รับบทบาทเป็น “อาร์เธอร์ เฟล็ก” หรือ “Joker” ได้ให้สัมภาษณ์กับสื่อต่างๆมากมายว่า เขาได้ทำการบ้านอย่างหนักในการถ่ายทอดเรื่องราวของโจ๊กเกอร์บนจอภาพยนตร์ให้สมบทบาทที่สุด โดยเฉพาะการศึกษาวิธี”การหัวเราะแบบโจ๊กเกอร์” จากผู้ป่วยที่มีอาการ ”Pseudobulbar affect”

วันนี้ กรมสุขภาพจิต เลยอยากพาทุกคนมาทำความรู้จัก Pseudobulbar affect (PBA) หรือ "ภาวะควบคุมการหัวเราะไม่ได้" ให้มากขึ้นครับ ว่า PBA คืออะไร? และมีอาการอย่างไร?
.
.
.
คำเตือนจากแอดมิน (ไม่สปอยล์)

ภาพยนตร์เรื่อง “Joker” ที่กำลังฉายอยู่ขณะนี้ จัดอยู่ในเรท R (Restricted) ซึ่งหมายถึง เด็กและเยาวชนอายุต่ำกว่า 17 ปีจะเข้าชมได้ ต่อเมื่อมีผู้ปกครองควบคุมดูแลเท่านั้น เนื้อหาประกอบไปด้วย ความรุนแรงระดับสูง ภาษาที่ไม่เหมาะสม รวมไปถึงความเศร้า หดหู่ และสถานการณ์ที่อาจกระทบภาวะทางจิตใจได้

ในการรับชมสื่อที่ประกอบด้วยความรุนแรงทุกประเภท ควรตรวจสอบสภาพจิตใจตัวเองและคนใกล้ชิดว่ามีความพร้อมในการรับเนื้อหาที่มีความรุนแรงหรือไม่ โดยท่านสามารถหลีกเลี่ยงไปก่อนหากไม่มีความพร้อมในขณะนี้ และสามารถพบบุคลากรด้านสุขภาพจิตใกล้บ้านหรือติดต่อสายด่วนสุขภาพจิต 1323 หากท่านได้รับผลกระทบจากการรับชมดังกล่าวครับ

...สำหรับท่านที่สนใจ "เรื่องสุขภาพจิตบนแผ่นฟิล์ม" กรมสุขภาพจิตร่วมกับ TPBS จัดงานเสวนาวันที่ 9 ตุลาคม นี้นะครับ สามารถติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่โพสท์ปักหมุด ของเพจนี้เลยครับ

....ขอขอบคุณภาพประกอบจากภาพยนตร์ Joker มา ณ ที่นี้ด้วยครับ

ผู้เผยแพร่

กลุ่มสื่อสารและประชาสัมพันธ์ สำนักวิชาการสุขภาพจิต

วันที่

รูปแบบ

ภาษา

ประเภท

Date Created

2019-10-04

License

Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.

Rights Holder

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
Notice créée par

Social Bookmarking

Position: 1030 (569 views)