infographic แนวทางการดูแลผลกระทบทางจิตใจของตัวเองและคนใกล้ชิดเบื้องต้น
Dublin Core
Description
รมสุขภาพจิตขอแสดงความเสียใจกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
รวมถึงขอแสดงความเสียใจไปยังครอบครัวของผู้สูญเสีย
และผู้ได้รับบาดเจ็บทุกท่าน
ขอบคุณเจ้าที่ทุกคน หน่วยงานทุกที่ที่ร่วมกันปฏิบัติงานในครั้งนี้
แต่เรากรมสุขภาพจิตและทีม MCATT จะยังคงทำงานดูแลจิตใจกันต่อไป
#infographic แนวทางดูแลผลกระทบทางจิตใจของตัวเองและคนใกล้ชิด เบื้องต้น
(1) ดูแลตัวเอง : ดูแลสุขภาพกายและใจของตนเองเพื่อเตรียมพร้อมการดูแลจิตใจของคนรอบข้าง ให้พยายามรับประทานอาหาร นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ และพยายามใช้ชีวิตปกติเท่าที่เป็นไปได้
(2) รู้อารมณ์ตัวเอง : ให้ความสำคัญกับอารมณ์ของตนเองซึ่งอาจเกิดความรู้สึกมากมายในจิตใจ ต้องให้เวลาในการจัดการและช่วยเหลือตนเองและคนรอบข้างให้ผ่านช่วงเวลาที่ยากลำบากไปได้
(3) สังเกตอารมณ์ตัวเอง : หมั่นสังเกตการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์และความรู้สึกตัวเอง การมีความเปลี่ยนแปลงด้านการกิน การนอน รู้สึกหมดกำลัง และอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย ซึ่งเป็นสัญญานของระดับความเครียดสูง ถ้าเป็นเด็กและเยาวชน จะมีอาการถดถอย เช่น เกาะคนดูแลแน่น ร้องไห้ หรือแสดงอารมณ์รุนแรง
(4) หลีกเลี่ยงการรับข่าวที่มากเกินไป : ภาพความรุนแรงต่างๆ รวมไปถึงข่าวปลอมและข่าวลือ อาจกระตุ้นให้เกิดภาวะเครียดและปัญหาด้านสุขภาพจิตภายหลังเผชิญภัยพิบัติ
(5) พูดคุยกับคนอื่นๆ : เพื่อระบายความรู้สึก เน้นสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ ให้สามารถจัดการกับความยากลำบากไปได้
ทั้งนี้หากพบความผิดปกติ ควรรีบพาไปพบจิตแพทย์ที่สถานพยาบาลใกล้บ้าน หรือติดต่อขอคำปรึกษาผ่านสายด่วนสุขภาพจิต 1323 ได้ฟรี ตลอด 24 ชั่วโมง
รวมถึงขอแสดงความเสียใจไปยังครอบครัวของผู้สูญเสีย
และผู้ได้รับบาดเจ็บทุกท่าน
ขอบคุณเจ้าที่ทุกคน หน่วยงานทุกที่ที่ร่วมกันปฏิบัติงานในครั้งนี้
แต่เรากรมสุขภาพจิตและทีม MCATT จะยังคงทำงานดูแลจิตใจกันต่อไป
#infographic แนวทางดูแลผลกระทบทางจิตใจของตัวเองและคนใกล้ชิด เบื้องต้น
(1) ดูแลตัวเอง : ดูแลสุขภาพกายและใจของตนเองเพื่อเตรียมพร้อมการดูแลจิตใจของคนรอบข้าง ให้พยายามรับประทานอาหาร นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ และพยายามใช้ชีวิตปกติเท่าที่เป็นไปได้
(2) รู้อารมณ์ตัวเอง : ให้ความสำคัญกับอารมณ์ของตนเองซึ่งอาจเกิดความรู้สึกมากมายในจิตใจ ต้องให้เวลาในการจัดการและช่วยเหลือตนเองและคนรอบข้างให้ผ่านช่วงเวลาที่ยากลำบากไปได้
(3) สังเกตอารมณ์ตัวเอง : หมั่นสังเกตการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์และความรู้สึกตัวเอง การมีความเปลี่ยนแปลงด้านการกิน การนอน รู้สึกหมดกำลัง และอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย ซึ่งเป็นสัญญานของระดับความเครียดสูง ถ้าเป็นเด็กและเยาวชน จะมีอาการถดถอย เช่น เกาะคนดูแลแน่น ร้องไห้ หรือแสดงอารมณ์รุนแรง
(4) หลีกเลี่ยงการรับข่าวที่มากเกินไป : ภาพความรุนแรงต่างๆ รวมไปถึงข่าวปลอมและข่าวลือ อาจกระตุ้นให้เกิดภาวะเครียดและปัญหาด้านสุขภาพจิตภายหลังเผชิญภัยพิบัติ
(5) พูดคุยกับคนอื่นๆ : เพื่อระบายความรู้สึก เน้นสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ ให้สามารถจัดการกับความยากลำบากไปได้
ทั้งนี้หากพบความผิดปกติ ควรรีบพาไปพบจิตแพทย์ที่สถานพยาบาลใกล้บ้าน หรือติดต่อขอคำปรึกษาผ่านสายด่วนสุขภาพจิต 1323 ได้ฟรี ตลอด 24 ชั่วโมง
Publisher
กลุ่มสื่อสารและประชาสัมพันธ์ สำนักวิชาการสุขภาพจิต
Date
Format
Language
Type
Date Created
2020-02-09
Date Copyrighted
License
Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Rights Holder
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
Social Bookmarking
Position: 1003 (554 views)