อัตราป่วยรายใหม่และความชุกโรคซึมเศร้าในคนไทยอายุ 15 ปี ขึ้นไป ปี พ.ศ. 2565 - 2567: Health Data Center (HDC)
Dublin Core
Description
อัตราป่วยรายใหม่และความชุกโรคซึมเศร้าในคนไทยอายุ 15 ปี ขึ้นไป ปีพ.ศ. 2565 - 2567: จากระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ (Health Data Center: HDC)
แนวโน้มอัตราป่วยรายใหม่ต่อแสนประชากรลดลง ยกเว้นเขตสุขภาพที่ 7 และ 12
แนวโน้มความชุกเพิ่มขึ้น ยกเว้นเขตสุขภาพที่ 12
แนวโน้มอัตราป่วยรายใหม่ต่อแสนประชากรและร้อยละความชุกจังหวัดแม่ฮ่องสอนสูงขึ้น
จำนวนผู้ป่วยรายใหม่รายเดือนมีลักษณะขึ้นๆ ลงๆ แนวโน้มลดลงในเดือนธันวาคมและสูงขึ้นในไตรมาสแรกของปี พ.ศ.
โรคซึมเศร้า เป็นโรคจิตเวชที่พบได้บ่อย จากปัจจัยสังคม เศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว รวมทั้งพันธุกรรมและเสพสารเสพติด มักพบมีอารมณ์เศร้า เบื่อหน่าย หงุดหงิด สิ้นหวัง ไม่อยากทำอะไร ไม่อยากอาหาร นอนไม่หลับ และมีความคิดหรืออยากตาย โรคนี้สามารถรักษาให้หายได้ ทั้งนี้ บุคคลช่วยกันสังเกตตัวเองและคนรอบข้างว่าเข้าข่ายโรคซึมเศร้าหรือไม่ จะช่วยลดผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตได้
แนวโน้มอัตราป่วยรายใหม่ต่อแสนประชากรลดลง ยกเว้นเขตสุขภาพที่ 7 และ 12
แนวโน้มความชุกเพิ่มขึ้น ยกเว้นเขตสุขภาพที่ 12
แนวโน้มอัตราป่วยรายใหม่ต่อแสนประชากรและร้อยละความชุกจังหวัดแม่ฮ่องสอนสูงขึ้น
จำนวนผู้ป่วยรายใหม่รายเดือนมีลักษณะขึ้นๆ ลงๆ แนวโน้มลดลงในเดือนธันวาคมและสูงขึ้นในไตรมาสแรกของปี พ.ศ.
โรคซึมเศร้า เป็นโรคจิตเวชที่พบได้บ่อย จากปัจจัยสังคม เศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว รวมทั้งพันธุกรรมและเสพสารเสพติด มักพบมีอารมณ์เศร้า เบื่อหน่าย หงุดหงิด สิ้นหวัง ไม่อยากทำอะไร ไม่อยากอาหาร นอนไม่หลับ และมีความคิดหรืออยากตาย โรคนี้สามารถรักษาให้หายได้ ทั้งนี้ บุคคลช่วยกันสังเกตตัวเองและคนรอบข้างว่าเข้าข่ายโรคซึมเศร้าหรือไม่ จะช่วยลดผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตได้
Publisher
สำนักวิขาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต
Date
Format
Language
Type
Coverage
นนทบุรี : สำนักวิขาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ; 2568
Extent
1 แผ่น
Rights Holder
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
Social Bookmarking
Position: 711 (740 views)