ความชุกของประสบการณ์คล้ายโรคจิต (psychotic experience): การสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตของคนไทยระดับชาติ ปี พ.ศ. 2566
Dublin Core
Description
ผลสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตของคนไทยระดับชาติ ปี พ.ศ. 2566: TNMHS2023
คนไทย 1.68 ล้านคน เคยมีประสบการณ์คล้ายโรคจิต “Psychotic experience” ครั้งใดครั้งหนึ่งในชีวิต เช่น เห็นภาพหลอน หูแว่ว รู้สึกจิตใจถูกครอบงำโดยอำนาจลึกลับ ส่วนใหญ่มีอาการประสาทหลอน
พื้นที่สูงสุด: ใต้ชายแดน (ปัตตานี ยะลาและนราธิวาส)
กลุ่มเสี่ยง: ผู้ชายมากกว่าผู้หญิง 1.1 เท่า และอายุ 18-24 ปี สูงกว่ากลุ่มอายุอื่น คนไทย 6 แสนคน เคยมีประสบการณ์ ครั้งใดครั้งหนึ่งในช่วง 12 เดือน ส่วนใหญ่มีอาการประสาทหลอน
พื้นที่สูงสุด: ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กลุ่มเสี่ยง: อายุ 18-24 ปี สูงกว่ากลุ่มอายุอื่น
การมีประสบการณ์คล้ายโรคจิตอาจเกี่ยวข้องกับความรุนแรงในสังคม รวมทั้งการใช้สุราและสารเสพติดจำเป็นต้องได้รับการวินิจฉัยทางคลินิกเพื่อการรักษา
คนไทย 1.68 ล้านคน เคยมีประสบการณ์คล้ายโรคจิต “Psychotic experience” ครั้งใดครั้งหนึ่งในชีวิต เช่น เห็นภาพหลอน หูแว่ว รู้สึกจิตใจถูกครอบงำโดยอำนาจลึกลับ ส่วนใหญ่มีอาการประสาทหลอน
พื้นที่สูงสุด: ใต้ชายแดน (ปัตตานี ยะลาและนราธิวาส)
กลุ่มเสี่ยง: ผู้ชายมากกว่าผู้หญิง 1.1 เท่า และอายุ 18-24 ปี สูงกว่ากลุ่มอายุอื่น คนไทย 6 แสนคน เคยมีประสบการณ์ ครั้งใดครั้งหนึ่งในช่วง 12 เดือน ส่วนใหญ่มีอาการประสาทหลอน
พื้นที่สูงสุด: ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กลุ่มเสี่ยง: อายุ 18-24 ปี สูงกว่ากลุ่มอายุอื่น
การมีประสบการณ์คล้ายโรคจิตอาจเกี่ยวข้องกับความรุนแรงในสังคม รวมทั้งการใช้สุราและสารเสพติดจำเป็นต้องได้รับการวินิจฉัยทางคลินิกเพื่อการรักษา
Publisher
กลุ่มระบาดวิทยาสุขภาพจิต สำนักวิชาการสุขภาพจิต
Date
Format
Language
Type
Date Created
2024-07-01
License
Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Rights Holder
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
Social Bookmarking
Position: 1283 (449 views)