คลังความรู้สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต
Search using this query type:

Search only these record types:


Advanced Search (Items only)

Browse Items (317 total)

  • Type is exactly "infographic "

S__40099926.jpg
1. ช่วยให้สมองรู้สึก “ควบคุมได้” ในช่วงวิกฤต สมองมักรู้สึกว่าทุกอย่างเกินควบคุม การกลับไปทำสิ่งคุ้นเคย เช่น อาบน้ำตอนเช้า ดื่มกาแฟถ้วยเดิม หรือจัดห้องนอนให้เรียบร้อย เป็นการส่งสัญญาณว่า “เรายังจัดการชีวิตของตัวเองได้”

2.…

Position: 1331 (563 views)

S__40018046.jpg
1. หยุดกิจกรรม หายใจลึกๆ ช้าๆ 1 ครั้ง เพื่อช่วยให้คุณตั้งสติและประเมินสถานการณ์ได้ดีขึ้น
2. สังเกตของรอบตัวที่อาจแกว่งได้ เช่น โคมไฟ แก้วน้ำ ขวดน้ำ เพื่อดูว่ามีการสั่นไหวจริงหรือไม่

• ถ้าไม่มีอะไรเคลื่อนไหว / ไม่แน่ใจ ให้นั่งพัก…

Position: 1075 (657 views)

S__40026167.jpg
ทำไมถึงเกิดขึ้น? หลังจากเหตุการณ์สะเทือนใจ เช่น แผ่นดินไหว หรืออุบัติเหตุ ร่างกายอาจเกิดอาการเช่น: ใจสั่น, หายใจถี่, แน่นหน้าอก, รู้สึกหวาดกลัวรุนแรง

แม้จะไม่มีอันตรายจริง แต่สมองยังเข้าใจว่า “เรายังไม่ปลอดภัย” พอเจอสิ่งที่คล้ายกับเหตุการณ์เดิม…

Position: 925 (707 views)

S__5619927.jpg
หลายคนได้เคยประสบกับแผ่นดินไหวครั้งแรกจากเหตุการณ์ครั้งล่าสุดที่เกิดขึ้น แม้เหตุการณ์จะเกิดขึ้นเพียงระยะเวลอันสั้น แต่ก็เพียงพอให้เกิดความตื่นตระหนก หลายคนรีบวิ่งออกจากบ้าน วิ่งลงจากตึกเป็นสิบชั้น ทั้งที่บางคนไม่แน่ใจด้วยซ้ำว่าเกิดอะไรขึ้น…

Position: 492 (1164 views)

S__5619910.jpg
มีอาการหลังเหตุการณ์สะเทือนขวัญ ประมาณ 1 เดือน
- คิดคำนึงถึงเหตุการณ์นั้นซ้ำๆ ทั้งตอนตื่นและหลับ
- อารมณ์การรับรู้เปลี่ยนแปลงไปในทางลบ เช่น หม่นหมอง เมินเฉย
- มีอาการตื่นตระหนกมากกว่าปกติ
-…

Position: 596 (984 views)

S__39878662.jpg
- ตรวจสอบเส้นทางหนีหรือทางออกฉุกเฉินของที่พัก
- นัดหมายกับคนในครอบครัวหรือสมาชิกในครอบครัวถึงจุดรวมพล
- ฝึกการควบคุมสติและไม่ตื่นตระหนก เพื่อตัดสินใจได้อย่างมีเหตุผลในภาวะฉุกเฉิน
- ติดตามข่าวสารอย่างต่อเนื่องและเตรียมรับมือกับ after shock…

Position: 442 (1286 views)

S__39821380.jpg
Be Alert, Not Alarmed! ตระหนักไม่ตระหนก เตรียมตัวจิตใจสำหรับสถานการณ์แผ่นดินไหว (28 มีนาคม 2568)

The Department of Mental Health advises staying mindful and not panicking when dealing with earthquakes.

Be Alert, Not Alarmed!
Stay aware, do…

Position: 538 (1087 views)

incident & prevalence_F30.xx-F31.xx_190225 (1).png
อัตราป่วยรายใหม่และความชุกภาวะเมเนียและโรคอารมณ์สองขั้วในคนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ปี พ.ศ. 2566 - 2567 : Health Data Center (HDC)
อัตราป่วยรายใหม่ต่อแสนประชากรที่มีภาวะเมเนียและโรคอารมณ์สองขั้วในคนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ปี พ.ศ. 2566 – 2567…

Position: 1476 (355 views)

Output Formats

atom, dc-rdf, dcmes-xml, json, omeka-xml, rss2