เมื่อคุณรู้สึกว่า...อาจจะเกิดแผ่นดินไหว
Dublin Core
Description
1. หยุดกิจกรรม หายใจลึกๆ ช้าๆ 1 ครั้ง เพื่อช่วยให้คุณตั้งสติและประเมินสถานการณ์ได้ดีขึ้น
2. สังเกตของรอบตัวที่อาจแกว่งได้ เช่น โคมไฟ แก้วน้ำ ขวดน้ำ เพื่อดูว่ามีการสั่นไหวจริงหรือไม่
• ถ้าไม่มีอะไรเคลื่อนไหว / ไม่แน่ใจ ให้นั่งพัก อาจเกิดจากอาการอื่น เช่น เวียนหัว วิตกกังวล ให้สังเกตสิ่งแวดล้อมรอบตัวเป็นช่วงๆ
• ถ้ามีสิ่งของเคลื่อนไหว/โคลงชัดเจน
- หมอบใต้โต๊ะที่มั่นคง
- หายใจลึกๆ อีก 3 ครั้ง
- เมื่อสถานการณ์สงบ จึงหาทางออกอย่างปลอดภัย
การรับมือกับแผ่นดินไหวต้องทำด้วยความระมัดระวังและมีสติอยู่เสมอ คอยเตรียมตัวให้พร้อมในทุกสถานการณ์เพื่อความปลอดภัยของตัวเองและคนรอบข้าง
ในขณะเดียวกัน อย่าลืมให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพจิตของตัวเอง เพราะความวิตกกังวลหรือความกลัวสามารถส่งผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจ
หากรู้สึกเครียด วิตกกังวล ควรพูดคุยกับคนที่คุณไว้ใจหรือปรึกษา
"สายด่วนสุขภาพจิต 1323"
"ศูนย์เยียวยาจิตใจ 1667"
พร้อมให้บริการประชาชนตลอด 24 ชั่วโมง
#กรมสุขภาพจิต #แผ่นดินไหว
2. สังเกตของรอบตัวที่อาจแกว่งได้ เช่น โคมไฟ แก้วน้ำ ขวดน้ำ เพื่อดูว่ามีการสั่นไหวจริงหรือไม่
• ถ้าไม่มีอะไรเคลื่อนไหว / ไม่แน่ใจ ให้นั่งพัก อาจเกิดจากอาการอื่น เช่น เวียนหัว วิตกกังวล ให้สังเกตสิ่งแวดล้อมรอบตัวเป็นช่วงๆ
• ถ้ามีสิ่งของเคลื่อนไหว/โคลงชัดเจน
- หมอบใต้โต๊ะที่มั่นคง
- หายใจลึกๆ อีก 3 ครั้ง
- เมื่อสถานการณ์สงบ จึงหาทางออกอย่างปลอดภัย
การรับมือกับแผ่นดินไหวต้องทำด้วยความระมัดระวังและมีสติอยู่เสมอ คอยเตรียมตัวให้พร้อมในทุกสถานการณ์เพื่อความปลอดภัยของตัวเองและคนรอบข้าง
ในขณะเดียวกัน อย่าลืมให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพจิตของตัวเอง เพราะความวิตกกังวลหรือความกลัวสามารถส่งผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจ
หากรู้สึกเครียด วิตกกังวล ควรพูดคุยกับคนที่คุณไว้ใจหรือปรึกษา
"สายด่วนสุขภาพจิต 1323"
"ศูนย์เยียวยาจิตใจ 1667"
พร้อมให้บริการประชาชนตลอด 24 ชั่วโมง
#กรมสุขภาพจิต #แผ่นดินไหว
Publisher
สำนักความรอบรู้สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต
Date
Format
Language
Type
Date Copyrighted
License
Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Rights Holder
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
Social Bookmarking
Position: 178 (2703 views)