คลังความรู้สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต
Search using this query type:

Search only these record types:


Advanced Search (Items only)

Browse Items (1555 total)

5 ข้อควรใช้ ดูแลใจผู้พิการ.pdf
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ทำให้การใช้ชีวิตมีความยากลำบาก จนอาจทำให้จิตใจห่อเหี่ยว ผู้พิการแล้วเองก็เช่นเดียวกัน ผู้ที่เกี่ยวข้องจะสามารถช่วยเหลือพวกเขาได้อย่างไร อินโฟกราฟิก (Infographic) แผ่นนี้ นำเสนอ 5…

Position: 950 (568 views)

545917710วิทยากรรวม (10).jpg
5 คำถาม ทิ่มแทงใจที่ไม่ควรพูด ในวันรวมญาติ เทศกาลวันสงกรานต์
นับเป็นอีกเทศกาลของคนไทยที่สนุกสนานคึกครื้นและอบอวนไปด้วยความสุข แต่ก็มีหลายคนที่วันรวมญาติในเทศกาลสงกรานต์กลับกลายเป็นยาพิษ เพราะถูกทิ่มแทงใจ บั่นทอนกำลังใจด้วยคำถาม คำพูด…

Position: 1566 (55 views)

7. แผ่นพับ - 5ต. ดูแลใจ กักตัวอย่างไร ไม่เครียด.pdf
เมื่อต้องกักตัว อันเนื่องมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 จะต้องมีการปฏิบัติตัวอย่างไรบ้าง เพื่อไม่ให้เกิดความเครียดขึ้นมา สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ในแผ่นพับแผ่นนี้

Position: 710 (673 views)

5 ปัญหาสุขภาพจิต คุกคามชีวิตวัยทำงาน.pdf
ความเครียดสะสมแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ จัดแจงสิ่งรอบตัวให้ดูสดชื่นปรับเปลี่ยนมุมโต๊ะทำงาน และบำบัดตัวเองด้วยการออกไปพบปะผู้คน ภาวะหมดไฟในการทำงาน รับมือกับภาวะหมดไฟ เพียงรับรู้ว่าร่างกายและจิตใจของตนเอง กำลังเข้าสู่ภาวะความเหนื่อยหน่ายจาก การทำ งาน…

Position: 1504 (81 views)

3771650.pdf
วิธีดูแลใจไม่ให้เครียดในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ด้วยหลัก 5 ร ได้แก่ ร ที่ 1 รู้อารมณ์ตนเอง ร ที่ 2 รับสื่ออย่างมีสติ ร ที่ 3 รักษาสุขภาพ ร ที่ 4 ระมัดระวัง ไม่แสดงท่าทีรังเกียจคนติดเชื้อ ร ที่ 5 รีบปรึกษา ถ้ากังวลใจ…

Position: 692 (687 views)

5 ร. ดูแลใจ สู้ไวรัสโควิด-19.pdf
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ไม่เพียงแต่ส่งผลกระทบทางร่างกาย แต่ยังส่งผลกระทบทางจิตใจด้วย และเมื่อจิตใจเราได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ดังกล่าว เราจะต้องปฏิบัติตัวอย่างไร อินโฟกราฟิก (Infographic) แผ่นนี้ นำเสนอ 5 ร…

Position: 962 (564 views)

6. แผ่นพับ -  5ร.ดูแลใจ.pdf
วิธีดูแลจิตใจในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 โดยใช้หลัก 5 ร. มีอะไรบ้าง สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากแผ่นพับแผ่นนี้

Position: 687 (692 views)

5 วิธีการผ่อนคลายที่ได้ผลในยุคโควิด.pdf
ทุกคนมีความเครียดเป็นปกติในชีวิตประจำวัน เมื่อเกิดความเครียดจะส่งผลกระทบทั้งระยะสั้นและระยะยาว โดยในระยะสั้น ทำให้เกิดอาการปวดหัว หายใจไม่อิ่ม นอนไม่หลับ วิตกกังวล ปวดท้อง ส่วนในระยะยาว (เรื้อรัง) สามารถเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ, อาการปวดหลัง,…

Position: 807 (622 views)

Output Formats

atom, dc-rdf, dcmes-xml, json, omeka-xml, rss2