อัตราป่วยรายใหม่และความชุกของเด็กไทยอายุ 6-17 ปี ที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา ปี พ.ศ. 2566 – 2567: Health Data Center (HDC)
Dublin Core
หัวเรื่อง
คำบรรยาย
อัตราป่วยรายใหม่และความชุกของเด็กไทยอายุ 6-17 ปี ที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา ปี พ.ศ. 2566 – 2567 : Health Data Center (HDC)
อัตราป่วยรายใหม่ต่อแสนประชากรและความชุกในประชากรของเด็กไทยอายุ 6-17 ปี ที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา ปี พ.ศ. 2566 – 2567 ภาพรวม “สูงขึ้น” โดยเขตสุขภาพที่ 2 “สูงสุด ทั้ง 2 ปี พ.ศ.”
เขตสุขภาพที่ 1, 7 และ 12 มีอัตราป่วยรายใหม่สูงขึ้น
ทุกเขตสุขภาพมีร้อยละความชุกสูงขึ้น
จังหวัดเพชรบูรณ์ มีอัตราป่วยรายใหม่สูงสุดเป็นอันดับแรกในปี พ.ศ. 2566 แต่ลดลงใน ปี พ.ศ. 2567
จังหวัดน่าน มีอัตราป่วยรายใหม่สูงขึ้นและสูงสุดเป็นอันดับแรกใน ปี พ.ศ. 2567
จังหวัดลำปาง มีร้อยละความชุกในประชากรสูงสุดเป็นอันดับแรก ทั้ง 2 ปี พ.ศ.
จำนวนผู้ป่วยใหม่จำแนกรายเดือน ขึ้นๆ ลงๆ ใกล้เคียงกัน ปี พ.ศ. 2566 สูงสุด ในเดือนมิถุนายน และปี พ.ศ. 2567 สูงสุดในเดือนตุลาคม
ภาวะความบกพร่องทางสติปัญญา เป็นภาวะที่บุคคลมีพัฒนาการด้านร่างกาย สังคม อารมณ์ ภาษาและสติปัญญาล่าช้ากว่าบุคคลทั่วไป ทำให้มีข้อจำกัดในการเรียนรู้ การแก้ปัญหา และการปรับตัวในชีวิตประจำวัน ทั้งนี้ ไม่ใช่โรคที่หายได้ แต่สามารถพัฒนาและเรียนรู้ได้ การรักษาเน้นการฟื้นฟูสมรรถภาพของสมองและร่างกาย เพื่อให้ดำเนินชีวิตในสังคมได้มากที่สุด ช่วยเหลือตัวเองได้ ไม่เป็นภาระแก่ครอบครัวและสังคมมากเกินไป และประกอบอาชีพได้
อัตราป่วยรายใหม่ต่อแสนประชากรและความชุกในประชากรของเด็กไทยอายุ 6-17 ปี ที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา ปี พ.ศ. 2566 – 2567 ภาพรวม “สูงขึ้น” โดยเขตสุขภาพที่ 2 “สูงสุด ทั้ง 2 ปี พ.ศ.”
เขตสุขภาพที่ 1, 7 และ 12 มีอัตราป่วยรายใหม่สูงขึ้น
ทุกเขตสุขภาพมีร้อยละความชุกสูงขึ้น
จังหวัดเพชรบูรณ์ มีอัตราป่วยรายใหม่สูงสุดเป็นอันดับแรกในปี พ.ศ. 2566 แต่ลดลงใน ปี พ.ศ. 2567
จังหวัดน่าน มีอัตราป่วยรายใหม่สูงขึ้นและสูงสุดเป็นอันดับแรกใน ปี พ.ศ. 2567
จังหวัดลำปาง มีร้อยละความชุกในประชากรสูงสุดเป็นอันดับแรก ทั้ง 2 ปี พ.ศ.
จำนวนผู้ป่วยใหม่จำแนกรายเดือน ขึ้นๆ ลงๆ ใกล้เคียงกัน ปี พ.ศ. 2566 สูงสุด ในเดือนมิถุนายน และปี พ.ศ. 2567 สูงสุดในเดือนตุลาคม
ภาวะความบกพร่องทางสติปัญญา เป็นภาวะที่บุคคลมีพัฒนาการด้านร่างกาย สังคม อารมณ์ ภาษาและสติปัญญาล่าช้ากว่าบุคคลทั่วไป ทำให้มีข้อจำกัดในการเรียนรู้ การแก้ปัญหา และการปรับตัวในชีวิตประจำวัน ทั้งนี้ ไม่ใช่โรคที่หายได้ แต่สามารถพัฒนาและเรียนรู้ได้ การรักษาเน้นการฟื้นฟูสมรรถภาพของสมองและร่างกาย เพื่อให้ดำเนินชีวิตในสังคมได้มากที่สุด ช่วยเหลือตัวเองได้ ไม่เป็นภาระแก่ครอบครัวและสังคมมากเกินไป และประกอบอาชีพได้
ผู้เผยแพร่
สำนักวิชาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต
วันที่
รูปแบบ
ภาษา
ประเภท
ความครอบคลุม
นนทบุรี : สำนักวิชาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ; 2568
Date Created
2025-02-19
Extent
1 หน้า
Rights Holder
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
Social Bookmarking
Position: 1411 (485 views)