กรณีศึกษาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่งสู่การมีงานทำ
Dublin Core
Description
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตเวช จึงมีความสำคัญในการช่วยเหลือให้ผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่งผ่านพ้นภาวะ ยากลำบาก โดยนักสังคมสงเคราะห์ดำเนินการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วย ทั้งสมรรถภาพทางสังคมและสมรรถภาพทางการประกอบอาชีพ เพื่อลดความบกพร่อง ความไร้สมรรถภาพ และความเสียเปรียบให้เหลือน้อยที่สุด โดยมีเป้าหมายคือให้ผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่งสามารถพึ่งพาหาเลี้ยงชีพตนเอง อยู่ในสังคม และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามความเหมาะสมต่อไป
Creator
Source
โรงพยาบาลจิตเวชนครพนมราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต
Publisher
กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสุขภาพจิต
Date
Contributor
Format
Language
Type
Coverage
นครพนม : โรงพยาบาลจิตเวชนครพนมราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต ; 2568
Table Of Contents
บทที่ 1 บทนำ ... 1
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ... 1
วัตถุประสงค์ ... 2
ขอบเขตของการดำเนินการ ... 2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ... 2
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ... 3
แนวคิดการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวช ... 3
ทฤษฎีจิตสังคม ... 7
ทฤษฎีการแก้ไขปัญหา ... 9
การสังคมสงเคราะห์จิตเวช ... 12
การสังคมสงเคราะห์เฉพาะราย ... 14
แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ... 16
บทบาทนักสังคมสงเคราะห์จิตเวชด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ ... 19
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ... 24
บทที่ 3 กรณีศึกษา ... 26
การแสวงหาข้อเท็จจริง ... 26
การประเมินและวินิจฉัยทางสังคม ... 33
การวางแผนช่วยเหลือตามปัญหาที่พบ ... 35
การดำเนินงานให้ความช่วยเหลือ ... 36
การติดตามประเมินผลและการส่งต่อ ... 40
บทที่ 4 สรุปผลการดำเนินงาน อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ... 42
สรุปผลการดำเนินงาน ... 42
อภิปรายผล ... 44
ปัญหาและอุปสรรค ... 51
ข้อเสนอแนะ ... 51
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ... 1
วัตถุประสงค์ ... 2
ขอบเขตของการดำเนินการ ... 2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ... 2
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ... 3
แนวคิดการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวช ... 3
ทฤษฎีจิตสังคม ... 7
ทฤษฎีการแก้ไขปัญหา ... 9
การสังคมสงเคราะห์จิตเวช ... 12
การสังคมสงเคราะห์เฉพาะราย ... 14
แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ... 16
บทบาทนักสังคมสงเคราะห์จิตเวชด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ ... 19
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ... 24
บทที่ 3 กรณีศึกษา ... 26
การแสวงหาข้อเท็จจริง ... 26
การประเมินและวินิจฉัยทางสังคม ... 33
การวางแผนช่วยเหลือตามปัญหาที่พบ ... 35
การดำเนินงานให้ความช่วยเหลือ ... 36
การติดตามประเมินผลและการส่งต่อ ... 40
บทที่ 4 สรุปผลการดำเนินงาน อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ... 42
สรุปผลการดำเนินงาน ... 42
อภิปรายผล ... 44
ปัญหาและอุปสรรค ... 51
ข้อเสนอแนะ ... 51
Date Created
2025-02-21
Extent
A4 : 56 หน้า
Rights Holder
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
Social Bookmarking
Position: 1644 (14 views)