ประสิทธิผลของโปรแกรมประมวลผลสำหรับแบบประเมินพฤติกรรมการปรับตัวของไวน์แลนด์ กลุ่มงานจิตวิทยา สถาบันราชานุกูล]]> แบบประเมินพฤติกรรมการปรับตัวของไวน์แลนด์]]> เด็ก -- การปรับพฤติกรรม]]> เด็กที่มีปัญหาในการเรียนรู้ -- การปรับพฤติกรรม]]> ประเสริฐ จุฑา]]> จันทนี มุ่งเขตกลาง]]> อัจจะมา ศิริพิบูลย์ผล]]> ปราณี ต๊ะวิไล]]> PDF]]> Thai]]> รายงานการวิจัย]]> ผลของโปรแกรมดนตรีและศิลปบำบัดที่มีต่อพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กบกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญาระดับรุนแรงเพศหญิง สถาบันราชานุกูล]]> ดนตรีบำบัดสำหรับเด็ก]]> ดนตรีบำบัด]]> ฐสรรพร เติมทอง]]> นิลพร เย็นยาซัน]]> นันท์วิภา วนธารกุล]]> จิรภัทร เปลื้องนุข]]> 2010]]> สถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิต]]> PDF]]> Thai]]> รายงานการวิจัย]]> หรือAUDIT)โดยกล่าวถึงวิธีการคัดกรองผู้ดื่มสุราที่ดื่มแบบมีความเสี่ยง(hazardous use) หรือดื่มแบบอันตราย (harmful use) แบบประเมินนี้พัฒนาโดยองค์การอนามัยโลก (World HealthOrganization)เพื่อให้เป็นเครื่องมือแบบง่ายใน
การคัดกรองการดื่มสุราที่มากเกินไปและในการประเมินที่มีเวลาจำกัด1,2นอกจากนี้ยังสามารถ
ช่วยระบุปัญหาการดื่มสุราที่เป็นสาเหตุการเจ็บป่วยที่นำมาพบแพทย์อีกด้วย คู่มือนี้ยังได้แนะนำ รูปแบบการดูแลช่วยเหลือผู้ดื่มสุราที่ดื่มแบบมีความเสี่ยงหรือดื่มแบบอันตรายให้ลดหรือหยุดดื่มและหลีกเลี่ยงผลเสียที่ตามมาจากการ
ดื่มแม้ว่าจะพัฒนามาสำหรับบุคลากรสุขภาพและสถานบริการสุขภาพทุกระดับ ยังสามารถใช้ประเมินด้วยตนเองหรือใช้โดยบุคลากรนอกระบบสุขภาพได้หากได้รับคำแนะนำที่เหมาะสม

คู่มือนี้ประกอบด้วย
เหตุผลที่ประเมินเกี่ยวกับการดื่มสุรา
การคัดกรองการดื่มสุรา
การพัฒนาและตรวจสอบความตรง (validity)
ของแบบประเมิน AUDIT
ข้อคำถามในแบบประเมิน AUDIT และวิธีการใช้
การคิดคะแนนและการแปลผล
วิธีการนำไปใช้ในการตรวจคัดกรองทางคลินิก
วิธีการช่วยเหลือผู้ป่วยกรณีที่ตรวจพบปัญหา
จากการคัดกรอง
วิธีการนำโปรแกรมการคัดกรองสู่การปฏิบัติ
ในส่วนภาคผนวกของคู่มือได้เพิ่มเติมข้อมูลที่เป็น
ประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติหรือนักวิจัย ในภาคผนวก ก ได้ให้แนวทางการศึกษาความเชื่อมั่น (reliability) ความตรง (validity) ของแบบประเมิน AUDIT และการนำไปใช้ สำหรับภาคผนวก ข มีตัวอย่าง
แบบประเมิน AUDIT ด้วยตัวเอง ภาคผนวก ค
ได้เสนอแนวทางการแปลและการปรับใช้แบบ
ประเมิน AUDIT ภาคผนวก ง ได้อธิบายขั้นตอน
การคัดกรองทางคลินิกร่วมไปกับการตรวจ
ร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และการ-
สัมภาษณ์ประวัติความเจ็บป่วย ส่วนภาคผนวก จ เป็นรายละเอียดข้อมูลสื่อวัสดุที่ใช้ในการอบรม

ในส่วนภาคผนวกของคู่มือได้เพิ่มเติมข้อมูลที่เป็น
ประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติหรือนักวิจัย ในภาคผนวก ก ได้ให้แนวทางการศึกษาความเชื่อมั่น (reliability) ความตรง (validity) ของแบบประเมิน AUDIT และการนำไปใช้ สำหรับภาคผนวก ข มีตัวอย่าง
แบบประเมิน AUDIT ด้วยตัวเอง ภาคผนวก ค
ได้เสนอแนวทางการแปลและการปรับใช้แบบ
ประเมิน AUDIT ภาคผนวก ง ได้อธิบายขั้นตอน
การคัดกรองทางคลินิกร่วมไปกับการตรวจ
ร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และการ-
สัมภาษณ์ประวัติความเจ็บป่วย ส่วนภาคผนวก จ เป็นรายละเอียดข้อมูลสื่อวัสดุที่ใช้ในการอบรม

ในส่วนภาคผนวกของคู่มือได้เพิ่มเติมข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติหรือนักวิจัย ในภาคผนวก ก ได้ให้แนวทางการศึกษาความเชื่อมั่น (reliability) ความตรง (validity) ของแบบประเมิน AUDIT และการนำไปใช้ สำหรับภาคผนวก ข มีตัวอย่างแบบประเมิน AUDIT ด้วยตัวเอง ภาคผนวก คได้เสนอแนวทางการแปลและการปรับใช้แบบ
ประเมิน AUDIT ภาคผนวก ง ได้อธิบายขั้นตอนการคัดกรองทางคลินิกร่วมไปกับการตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และการสัมภาษณ์ประวัติความเจ็บป่วย ส่วนภาคผนวก จ เป็นรายละเอียดข้อมูลสื่อวัสดุที่ใช้ในการอบรม]]>
แผนงานการพัฒนาระบบ รูปแบบ และวิธีการบำบัดรักษาผู้มีปัญหาการบริโภคสุราแบบบูรณาการ (ผรส.)
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข]]>
2009-10-01]]> 2009-10-01]]> PDF]]> Thai]]> คู่มือ]]>
สารเสพติด : คู่มือเพื่อใช้ในสถานพยาบาลปฐมภูมิ”1 และอิงตามการบำบัดแบบสั้นสำหรับการใช้สารเสพติด : แนวทางในสถานพยาบาลปฐมภูมิฉบับร่างที่ 1.1 ทดลองใช้2วัตถุประสงคข์ องคูมื่อเลม่ นี้เพื่ออธิบายพื้นฐานทฤษฎีและหลักฐานทางวิชาการเกี่ยวกับการบำบัดแบบสั้น และเพื่อช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลปฐมภูมิสามารถให้การบำบัดแบบสั้นเบื้องต้นในผู้รับบริการที่ใช้สารเสพติดแบบเสี่ยงได้ คู่มือเล่มนี้และคู่มือแบบคัดกรองASSIST จะกล่าวถึงวิธีการคัดกรองและการบำบัดแบบสั้น ที่ปรับใหเ้ หมาะกับบริบทเฉพาะในสถานพยาบาลปฐมภูมิ เพื่อชว่ ยใหป้ ระชาชนและผู้รับบริการแต่ละคนมีสุขภาพดีขึ้น คู่มือ เล่มนี้ประกอบด้วย

l หลักการและเหตุผลในการให้การบำบัด
แบบสั้นในสถานพยาบาลปฐมภูมิ
l รูปแบบขั้นตอนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
l องค์ประกอบของการบำบัดแบบสั้นที่ได้ผล
l หลักการของการบำบัดเพื่อเสริมสร้าง
แรงจูงใจ และทักษะที่สำคัญ
l วิธีการเชื่อมโยงการคัดกรอง ASSIST กับ
การบำบัดแบบสั้น
l วิธีการให้ข้อมูลสะท้อนกลับแก่ผู้รับบริการ
l วิธีการให้การบำบัดแบบสั้นในผู้ที่มีความเสี่ยง
ปานกลาง
l ตัวอย่างของการบำบัดแบบสั้นตามผล
คัดกรอง ASSIST
l วิธีการช่วยเหลือผู้รับบริการที่ฉีดสารเสพติด
l วิธีการพูดถึงการใช้สารเสพติดหลายชนิด
ร่วมกัน
l วิธีการให้การบำบัดที่ใช้เวลานานขึ้น หรือ
การบำบัดต่อเนื่องแมว้ า่ คูมื่อเลม่ นี้จะมีจุดมุ่งหมายเฉพาะบุคลากรสุขภาพปฐมภูมิ แต่คู่มือนี้ก็อาจเป็นประโยชน์กับบุคลากรกลุ่มอื่นที่ทำงานกับผู้รับบริการกลุ่มเสี่ยง หรือผู้รับบริการที่มีโอกาสใช้สารเสพติด เช่น แพทย์ พยาบาล ผดุงครรภ์และสูติแพทย์ นักสังคมสงเคราะห์ เจ้าหน้าที่
ราชทัณฑ์และพนักงานคุมประพฤติในชุมชน]]>
แผนงานการพัฒนาระบบการดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุรา (ผรส.)
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)]]>
2011-11-01]]> 2011-11-01]]> PDF]]> Thai]]> คู่มือ]]>
การฟัง -- แง่จิตวิทยา]]> การสื่อสารระหว่างบุคคล]]> สำนักวิชาการสุขภาพจิต]]> ]]> 2021-06-21]]> 2021-06-21]]> video]]> Thai]]> video]]> ศุนย์สุขภาพจิตที่ 7]]> 2021-12-08]]> 2021-12-08]]> ]]> คลิปเสียง]]> Thai]]> คลิปเสียง]]> ภาวะซึมเศร้า -- ในวัยชรา]]> ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ]]> โรงพยาบาลสวนสราญรมย์]]> 2022-06-17]]> PDF]]> Thai]]> infographic]]>
คู่มือมาตรฐานสากลระดับโลกนี้ ได้สรุปหลักฐานเชิงประจักษ์ที่มีในปัจจุบันถึงมาตรการและนโยบายที่พบว่ามีผลในเชิงป้องกันพร้อมแสดงรายละเอียด นอกจากนั้นคู่มือนี้ยังได้แสดงองค์ประกอบหลักและลักษณะสำาคัญของระบบการป้องกันสารเสพติดระดับประเทศที่มีประสิทธิผล โดยหวังว่าคู่มือเล่มนี้จะเป็นแนวทางให้ผู้กำาหนดนโยบายทั่วโลกนำาไปพัฒนาโปรแกรม นโยบาย และระบบที่คุ้มค่าประสิทธิผลในการลงทุนสำาหรับเด็ก เยาวชน และชุมชนในอนาคตอย่างแท้จริงพัฒนามาตรฐานหรือแนวปฏิบัติในการป้องกันสารเสพติดในรูปแบบต่างๆ มาก่อนแล้ว]]>
แผนงานการพัฒนาระบบการดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุรา (ผรส.)
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)]]>
2014-12-01]]> 2014-12-01]]> PDF]]> Thai]]> หนังสือ/คู่มือ]]>