หรือAUDIT)โดยกล่าวถึงวิธีการคัดกรองผู้ดื่มสุราที่ดื่มแบบมีความเสี่ยง(hazardous use) หรือดื่มแบบอันตราย (harmful use) แบบประเมินนี้พัฒนาโดยองค์การอนามัยโลก (World HealthOrganization)เพื่อให้เป็นเครื่องมือแบบง่ายใน
การคัดกรองการดื่มสุราที่มากเกินไปและในการประเมินที่มีเวลาจำกัด1,2นอกจากนี้ยังสามารถ
ช่วยระบุปัญหาการดื่มสุราที่เป็นสาเหตุการเจ็บป่วยที่นำมาพบแพทย์อีกด้วย คู่มือนี้ยังได้แนะนำ รูปแบบการดูแลช่วยเหลือผู้ดื่มสุราที่ดื่มแบบมีความเสี่ยงหรือดื่มแบบอันตรายให้ลดหรือหยุดดื่มและหลีกเลี่ยงผลเสียที่ตามมาจากการ
ดื่มแม้ว่าจะพัฒนามาสำหรับบุคลากรสุขภาพและสถานบริการสุขภาพทุกระดับ ยังสามารถใช้ประเมินด้วยตนเองหรือใช้โดยบุคลากรนอกระบบสุขภาพได้หากได้รับคำแนะนำที่เหมาะสม

คู่มือนี้ประกอบด้วย
เหตุผลที่ประเมินเกี่ยวกับการดื่มสุรา
การคัดกรองการดื่มสุรา
การพัฒนาและตรวจสอบความตรง (validity)
ของแบบประเมิน AUDIT
ข้อคำถามในแบบประเมิน AUDIT และวิธีการใช้
การคิดคะแนนและการแปลผล
วิธีการนำไปใช้ในการตรวจคัดกรองทางคลินิก
วิธีการช่วยเหลือผู้ป่วยกรณีที่ตรวจพบปัญหา
จากการคัดกรอง
วิธีการนำโปรแกรมการคัดกรองสู่การปฏิบัติ
ในส่วนภาคผนวกของคู่มือได้เพิ่มเติมข้อมูลที่เป็น
ประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติหรือนักวิจัย ในภาคผนวก ก ได้ให้แนวทางการศึกษาความเชื่อมั่น (reliability) ความตรง (validity) ของแบบประเมิน AUDIT และการนำไปใช้ สำหรับภาคผนวก ข มีตัวอย่าง
แบบประเมิน AUDIT ด้วยตัวเอง ภาคผนวก ค
ได้เสนอแนวทางการแปลและการปรับใช้แบบ
ประเมิน AUDIT ภาคผนวก ง ได้อธิบายขั้นตอน
การคัดกรองทางคลินิกร่วมไปกับการตรวจ
ร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และการ-
สัมภาษณ์ประวัติความเจ็บป่วย ส่วนภาคผนวก จ เป็นรายละเอียดข้อมูลสื่อวัสดุที่ใช้ในการอบรม

ในส่วนภาคผนวกของคู่มือได้เพิ่มเติมข้อมูลที่เป็น
ประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติหรือนักวิจัย ในภาคผนวก ก ได้ให้แนวทางการศึกษาความเชื่อมั่น (reliability) ความตรง (validity) ของแบบประเมิน AUDIT และการนำไปใช้ สำหรับภาคผนวก ข มีตัวอย่าง
แบบประเมิน AUDIT ด้วยตัวเอง ภาคผนวก ค
ได้เสนอแนวทางการแปลและการปรับใช้แบบ
ประเมิน AUDIT ภาคผนวก ง ได้อธิบายขั้นตอน
การคัดกรองทางคลินิกร่วมไปกับการตรวจ
ร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และการ-
สัมภาษณ์ประวัติความเจ็บป่วย ส่วนภาคผนวก จ เป็นรายละเอียดข้อมูลสื่อวัสดุที่ใช้ในการอบรม

ในส่วนภาคผนวกของคู่มือได้เพิ่มเติมข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติหรือนักวิจัย ในภาคผนวก ก ได้ให้แนวทางการศึกษาความเชื่อมั่น (reliability) ความตรง (validity) ของแบบประเมิน AUDIT และการนำไปใช้ สำหรับภาคผนวก ข มีตัวอย่างแบบประเมิน AUDIT ด้วยตัวเอง ภาคผนวก คได้เสนอแนวทางการแปลและการปรับใช้แบบ
ประเมิน AUDIT ภาคผนวก ง ได้อธิบายขั้นตอนการคัดกรองทางคลินิกร่วมไปกับการตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และการสัมภาษณ์ประวัติความเจ็บป่วย ส่วนภาคผนวก จ เป็นรายละเอียดข้อมูลสื่อวัสดุที่ใช้ในการอบรม]]>
แผนงานการพัฒนาระบบ รูปแบบ และวิธีการบำบัดรักษาผู้มีปัญหาการบริโภคสุราแบบบูรณาการ (ผรส.)
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข]]>
2009-10-01]]> 2009-10-01]]> PDF]]> Thai]]> คู่มือ]]>