นักวิชาการไดข้ ยายการศึกษาในกลุม่ ประชากรและประเด็นที่กว้างขวางขึ้น และสามารถบ่งบอกถึงโครงการที่มีประสิทธิผลในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่นก่อนที่จะมีปัญหาการใช้สารเสพติดนักวิชาการยังได้ศึกษากลุ่มวัยรุ่นตอนปลายที่ได้ใช้สารเสพติดไปแล้วเพื่อหาทางป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาหรือเสพติดต่อไป นอกจากนี้ยังได้ศึกษาประเด็นที่นำไปใช้ในทางปฏิบัติ เช่น การวิเคราะห์ความคุ้มค่ากับประโยชน์ที่ได้รับ การนำเสนอข้อค้นพบเหล่านี้เป็นหน้าที่ที่สำคัญ
ที่สุดอันหนึ่งของหน่วยงาน NIDA เราจึงมีความยินดีที่จะเสนอเอกสารล่าสุดเรื่อง “การ
ป้องกันการใช้สาารเสพติดในเด็กและวัยรุน่ : คูมื่ออิงหลักฐานวิจัยสำหรับผู้ปกครอง นักการศึกษา และผู้นำชุมชนฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2” นี้ ซึ่งครอบคลุมหลักการที่ทันสมัยคำถามคำตอบข้อมูลโปรแกรมใหม่ๆ และแหล่งข้อมูลและเอกสารอ้างอิงที่กว้างขวางมากขึ้น และขอแนะนำให้
เยี่ยมชมเว็บไซต์ของเราที่ www.drugabuse.gov ที่มีคู่มือฉบับนี้และเอกสารเผยแพร่อื่นๆ ที่เกี่ยวกับผลกระทบการป้องกันและการบำบัดรักษาการใช้สารเสพติด เราหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านจะได้รับแนวทางที่เป็นประโยชน์และช่วยในการปฏิบัติงานต่อไป]]>
แผนงานการพัฒนาระบบการดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุรา (ผรส.)
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)]]>
2013-07-01]]> 2013-07-01]]> PDF]]> Thai]]> คู่มือ]]>