โควิด-19(โรค)
โคโรนาไวรัส, การติดเชื้อ -- การป้องกันและควบคุม]]>
ยศ ตีระวัฒนานนท์]]> PDF]]> Thai]]>
วัคซีน -- คู่มือ
วัคซีน -- การใช้รักษา
วัคซีน -- การผลิต – วิจัย
]]>
นภดล พิมสาร
ฉัตรกมล พีรปญญาวรานันท์
ธมลวรรณ ดุลสัมพันธ์
นิชาต มูลคำ
พีรพล กาญจนขันธ์]]>
PDF]]> Thai]]> งานวิจัย]]>
วัคซีน -- คู่มือ
วัคซีน -- การใช้รักษา
วัคซีน -- การผลิต – วิจัย
]]>

โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพหรือไฮแทป ได้รับมอบหมายจากคณะทำงานวิชาการด้านการบริหารจัดการและศึกษาการให้บริการวัคซีน ภายใต้อนุกรรมการอำนวยการบริหารจัดการการให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยการสนับสนุนของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หรือ สวรส. ให้สำรวจความเห็นของบุคลากรในกลุ่มนี้ต่อการรับวัคซีนโควิดในประเทศไทย ซึ่งทำการสำรวจทางระบบออนไลน์ระหว่างวันที่ 29 มกราคม ถึง 16 กุมภาพันธ์ 2021 โดยมีผู้ตอบแบบสำรวจกว่า 55,000 คน]]>
ฉัตรกมล พีรปัญญาวรานันท์]]> PDF]]> Thai]]> งานวิจัย]]>
วัคซีน -- คู่มือ
วัคซีน -- การใช้รักษา
วัคซีน -- การผลิต -- วิจัย]]>
ยศ ตีระวัฒนานนท์]]> PDF]]> Thai]]> ผลงานวิจัย]]>
ผู้ติดสุรา -- การดูแล]]> ผู้ติดสุรา -- การฟื้นฟูสมรรถภาพ]]> การลดการดื่มสุราแบบอันตรายด้วยมาตรการเชิงนโยบายที่มีประสิทธิผลและด้วยการจัดโครงสร้างพื้นฐานที่สอดคล้องกับการนำมาตรการลงสู่การปฏิบัติการปกป้องด้วยกฎหมาย มาตรการจัดการที่ครอบคลุม และกลไกที่มั่นใจว่าได้มีการดำเนินการอย่างแท้จริง ยุทธศาสตร์ระดับโลกเพื่อลดการดื่มสุราแบบอันตราย ได้รับการรับรองโดยที่ประชุมสมัชชาอนามัยโลกโดยประเทศสมาชิกองค์การอนามัยโลกที่จะปฏิบัติการทุกระดับอย่างยั่งยืน และอยู่ในยุทธศาสตร์ระดับโลกและระดับภูมิภาคอื่นๆ ขององค์การอนามัยโลก ตัวอย่างเช่น แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ระดับโลกในการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ ที่รับรองโดยที่ประชุมสมัชชาอนามัยโลกปี ค.ศ.2008 มุ่งส่งเสริมสนับสนุนและช่วยปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับภูมิภาค โดยยึดตามความมุ่งมั่นของปฏิญญาปารีสด้านประสิทธิภาพการให้ความช่วยเหลือ (Paris Declaration on Aid Effectiveness) องค์การอนามัยโลกขอเรียกร้องต่อภาคีเพื่อการพัฒนานานาชาติทั้งหลายในการให้ความช่วยเหลือตามคำร้องขอจากประเทศที่กำลังพัฒนาในการสนับสนุนทางวิชาการเพื่อการดำเนินการและปรับปรุงทางเลือกนโยบายให้สอดคล้องกับลำดับความสำคัญของปัญหาและบริบทของประเทศ ข้อคิดเห็นร่วมในยุทธศาสตร์ระดับโลกและการรับรองจากที่ประชุมสมัชชาอนามัยโลกเป็นผลจากความร่วมมือ ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน ตลอดจนหน่วยงานสาธารณสุข และสถาบันวิจัยในขณะที่ขับเคลื่อนงานไปข้างหน้า องค์การอนามัยโลกจะยังคงหาผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ เพื่อพยายามให้บรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์นี้
]]>
แผนงานการพัฒนาระบบการดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุรา (ผรส.)
]]>
2011-06-01]]> 2011-06-01]]> กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
]]>
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)]]> ]]> PDF]]> Thai]]> คู่มือ]]>
แผนงานการพัฒนาระบบการดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุรา (ผรส.)
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)]]>
2010-12-01]]> PDF]]> Thai]]>
แผนงานการพัฒนาระบบการดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุรา (ผรส.)
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)]]>
2013-03-01]]> 2013-03-01]]> PDF]]> Thai]]>
การศึกษาระดับชาติ 2551]]> สำนักสุขภาพจิตสังคม กรมสุขภาพจิต]]> 2021-12-01]]> 2012-11-01]]> PDF]]> Thai]]> งานวิจัย]]>