ความฉลาดทางอารมณ์]]> เด็ก -- จิตวิทยา]]> ]]> เรื่องราวบุคคลอีคิวดีกับความสำเร็จในชีวิต ... 2
ความหมายของความฉลาดทางอารมณ์ ... 8
แนวคิดการพัฒนาคุณลักษณะของความฉลาดทางอารมณ์ ... 10
อีคิว (EQ) ไอคิว (IQ) ...11
สถานการณ์ความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กไทย ... 13
บทบาทของ อสม. ในการเสริมสร้างอีคิวให้เด็กปฐมวัย ... 14
เส้นทางการเกิดปัญหาพฤติกรรม ...19
เส้นทางป้องกันปัญหาพฤติกรรมและการเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ ... 32
แนวทางการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ ... 42 ]]>
กองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต]]> 2018]]> PDF]]> Thai]]> Book]]>
ดําเนินงานสุขภาพจิตชุมชน ภายใต้วิถีชีวิตใหม่ (New normal)]]> โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา]]> ไวรัสวิทยาทางการแพทย์ ]]> ไวรัส -- การป้องกันและควบคุม]]> วัคซีนใจ คือ การส่งเสริมให้คนมีความสามารถที่จะปรับตัว ปรับใจกับเหตุการณ์วิกฤตของชีวิต มีพลังใจในการดำเนินชีวิต และกลับคืนสู่ภาวะปกติหลังจากที่พบกับเหตุการณ์วิกฤตหรือสถานการณ์ที่ทำให้เกิดความยากลำบากในชีวิตได้ แบ่งเป็น 3 ระดับ 1. วัคซีนใจในบุคคล ด้วยพลัง อึด ควบคุมอารมณ์ คิดเชิงบวก ฮึด ความหวังในชีวิตสร้างกำลังใจ สู้ เป็นพลังเอาชนะอุปสรรคด้วยการปรับและยืดหยุ่น 2. วัคซีนใจในครอบครัว 3 พลัง พลังบวกมองทางออกในทุกปัญหา พลังยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนบทบาทแบ่งเบา พลังร่วมมือให้ครอบครัวเป็นน้ำหนึ่งใจเดียว 3. วัคซีนใจในชุมชน 4 สร้าง ความรู้สึกปลอดภัย สงบ ความหวังเข้าใจและให้โอกาส โดยใช้ศักยภาพและสายสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นและมีอยู่ในชุมชน โดยเฉพาะวิกฤตการระบาดของโควิด 19 วัคซีนใจสามารถนํามาใช้ได้ทั้ง 2 สถานการณ์ 1. ในสถานการณ์ปกติ 2. ในสถานการณ์วิกฤต นําหลักการของการเสริมสร้างวัคซีนใจมาใช้ เพื่อให้สามารถดูแลจิตใจของตนเองและผู้อื่นได้ หากเกิดเหตุการณ์วิกฤตขึ้นในอนาคต วัคซีนใจจะเป็นเครื่องมือสําคัญที่ช่วยให้คนที่กําลังเผชิญกับวิกฤต สามารถสร้างพลังใจและมองหาทางออก ]]> - ตัวอย่างกิจกรรมวัคซีนใจในชุมชน
- บทบาทสําคัญของแต่ละภาคส่วนในการขับเคลื่อนวัคซีนใจ
- Exclusive Talk: การสนับสนุนการเสริมสร้างวัคซีนใจ
ต้นแบบการเสริมสร้างวัคซีนใจ
- Rising Star: พื้นที่ที่มีผลการดําาเนินงานโดดเด่น 16
- ต้นแบบวัคซีนใจในชุมชน 35
- ต้นแบบวัคซีนใจในสถานประกอบการ/องค์กร 55
- ต้นแบบวัคซีนใจในพื้นที่เพื่อแก้ปัญหาการฆ่าตัวตาย
บทส่งท้าย “Special Section”
]]>
นันทาวดี วรวสุวัส, บรรณาธิการ]]> ชีวานันท์ เกาทัณฑ์ , ผู้เรียบเรียง]]> ปองพล ชุษณะโชติ, ผู้เรียบเรียง]]> นาวินี เครือหงษ์, ผู้เรียบเรียง]]> PDF]]> Thai]]> คู่มือการดำเนินงานและแนวปฏิบัติ]]>
การข่มเหงในโรงเรียน]]> การรับรู้ตนเอง]]> การข่มเหง -- การป้องกัน ]]> ฆ่าตัวตาย นอกจากนี้ บุคคลที่อยู่รอบข้างเด็ก เช่น ครู เพื่อน พ่อแม่ผู้ปกครอง โรงเรียน สังคมก็อาจได้รับผลกระทบจากพฤติกรรมอันเป็นผลกระทบจากการรังแกของเด็กด้วย

โปรแกรมเล่มนี้พัฒนาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ใน 2 กลุ่มคือ 1) ผู้ใช้โปรแกรม และ 2) กลุ่มเป้าหมายโดยในกลุ่มผู้ใช้โปรแกรม ประกอบด้วย ครูประจำชั้น ครูที่ดูแลระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (ครูแนะแนว/ครูที่ปรึกษา) มุ่งหวังให้ครูเกิดความตระหนัก เห็นความสำาคัญในบทบาทของตนที่จะช่วยเฝ้าระวังพฤติกรรมรังแกกันในเด็กนักเรียนประถมศึกษาที่ 1-3 มีความรู้ที่ถูกต้อง และมีทักษะในการจัดการ แก้ไข เกี่ยวกับพฤติกรรมรังแกกัน รวมทั้งสามารถพัฒนาทักษะการควบคุมตนเองในเด็กกลุ่มเป้าหมาย ส่วนวัตถุประสงค์ที่คาดหวังให้เกิดกับนักเรียนประถมศึกษาที่ 1-3 คือเด็กมีทักษะในการควบคุมตนเอง (self-control) ตลอดจนสามารถมีทักษะในการป้องกันตนเองจากการถูกรังแกและมีทักษะในการรับมือเมื่อถูกรังแกได้]]>
กองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต]]> 2019]]> 2019]]> PDF]]> Thai]]> คู่มือ]]>

ต่อมาในปีงบประมาณ 2561 ถึงปัจจุบัน กรมสุขภาพจิตได้ขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตภายใต้กลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำ เภอ เพื่อให้เกิดการดำเนินงานสุขภาพจิตในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนที่สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง นำไปสู่ชุมชนที่เข้มแข็ง ดูแลช่วยเหลือกันไม่ทอดทิ้งใครไว้ด้านหลัง นำไปสู่การบูรณาการการดูแลจิตใจประชาชนร่วมกับ พชอ.ที่หลากหลาย และโดดเด่น สามารถเป็นต้นแบบให้กับภาคีเครือข่ายต่างๆ สามารถนำ ไปปรับใช้ในพื้นที่ของตนเองได้ต่อไป]]>
กองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต]]> 2019-07]]> 2019-07-01]]> PDF]]> Thai]]> คู่มือ]]>
กองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต]]> 2018-11-15]]> 2018-11-15]]> PDF]]> Thai]]> คู่มือ]]> กองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต]]> 2018-11-28]]> 2018-11-28]]> PDF]]> Thai]]> แผ่นพับ]]>
กรมสุขภาพจิต หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตสูงอายุสำหรับโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล จะเป็นประโยชน์ต่อผู้สูงอายุทั้งที่มารับบริการที่คลินิกโรคเรื้อรัง และผู้สูงอายุที่อยู่ในชุมชนได้ต่อไป]]>
กองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต]]> 2018-09-11]]> 2018-09-11]]> PDF]]> Thai]]> หนังสือ]]>
กองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต]]> 2019-10-19]]> 2019-10-19]]> EP01 รับมือกับความเศร้า

EP02 ไม่เอาแต่ใจ


EP03 เติมใส่อารมณ์ขัน


EP04 รักกันอย่างเข้าใจ
]]>
video]]> Thai]]> video]]>