วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย]]> วารสาร]]> สุขภาพจิต]]> วารสารอิเล็กทรอนิกส์]]> - การพัฒนาและทดสอบคุณสมบัติทางการวัดของแบบคัดกรองการรู้คิดทางโทรศัพท์ ฉบับภาษาไทย โดย นนทิชา ถาวรไพบูลย์บุตร, วัฒนารี อัมมวรรธน์, กีรติ อ้นมั่น, อัฐพล อัฐนาค,ฐิติยา วังกาวรรณ์, สิรวิชญ์ วงศ์อุดมมงคล, จักรี เสือกงลาด, ลลิตา ช่วยทวี,ปราญชลี คงศรี, ผนินทร แช่มเดช ...286
- ความตรงและความเชื่อมั่นของแบบประเมินพลังใจฉบับ 3 ข้อ โดย เทอดศักดิ์ เดชคง, พาสนา คุณาธิวัฒน์, ธิดารัตน์ ทิพโชติ, ภพธร วุฒิหาร ...297
- การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางใจในชุมชน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 : กรณีศึกษาชุมชนบ้านดง จังหวัดลำปาง โดย วิรัตน์ ซอระสี, อริสา หาญเตชะ, อรทัย เจียมดำรัส, สุรินทร อิวปา, วงค์พรรณ์ มาลารัตน์ ...307
- การเปลี่ยนแปลงน้ำหนักและส่วนสูงของผู้ป่วยเด็กโรคสมาธิสั้น อายุ 6 - 18 ปี ที่รักษาด้วยยา methylphenidate ชนิดออกฤทธิ์สั้นที่โรงพยาบาลศิริราช โดย น้ำทิพย์ หวังวิวัฒน์เจริญ, วัลลภ อัจสริยะสิงห์ ...319
- ปัจจัยทำนายความงอกงามภายหลังเหตุการณ์สะเทือนใจของนักศึกษาจังหวัดชายแดนใต้ของประเทศไทยวัฒนะ พรหมเพชร, ณัฐสุดา เต้พันธ์, กุลยา พิสิษฐ์สังฆการ ...331
- โปรแกรมการเจริญสติเป็นฐานต่อความสามารถคิดบริหารจัดการตนในเด็กวัยเรียน : การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบอภิญญา จะโรจร, วัลลภ อัจสริยะสิงห์, พัชรินทร์ เสรี, ปนัดดา ธนเศรษฐกร ...345]]>
สำนักวิชาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต]]> 2022]]> PDF]]> thai]]> วารสารวิชาการ]]>
วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย]]> วารสาร]]> สุขภาพจิต]]> วารสารอิเล็กทรอนิกส์]]> - ความสอดคล้องและความเที่ยงของแบบวัดมายาคติเกี่ยวกับการข่มขืน ฉบับภาษาไทย โดย เนตรนภิศ กองอุดมการ, สิรินัดดา ปัญญาภาส, พรจิรา ปริวัชรากุล ...199
- ภาวะหมดไฟในการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาลของรัฐ ในจังหวัดชุมพร โดย กชามาส วิชัยดิษฐ, อารยา ประเสริฐชัย, ปกกมล เหล่ารักษาวงษ์...211
- ลักษณะการเผชิญเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับภาวะเครียดหลังเหตุการณ์สะเทือนขวัญและภาวะซึมเศร้าในผู้ประสบภัยพิบัติ : การวิเคราะห์ระบบเฝ้าระวังสุขภาพจิตในภาวะวิกฤต โดย อธิบ ตันอารีย์, เมตตา เลิศเกียรติรัชตะ, มาลี เกตแก้ว, เจษฎา ไชยฤกษ์ ...222
- ระบาดวิทยากลุ่มโรควิตกกังวลในคนไทย : การสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตของคนไทยระดับชาติ พ.ศ. 2556 โดย ปทานนท์ ขวัญสนิท, วีร์ เมฆวิลัย, สุทธา สุปัญญา, วรวรรณ จุฑา, พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์ ...237
- การศึกษาเชิงคุณภาพเกี่ยวกับผู้เล่นเกมมืออาชีพ : คุณลักษณะ เส้นทางอาชีพ และผลกระทบในมิติด้านจิตสังคม โดย ณัฐพร กังสวิวัฒน์, ชาญวิทย์ พรนภดล, วิมลทิพย์ มุสิกพันธ์, สมบูรณ์ หทัยอยู่สุข ...250
- การศึกษาต้นทุนของกลุ่มอาการออทิซึมสเปกตรัม โดยการเก็บข้อมูลแบบไปข้างหน้า ณ โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ โดย กฤษฎาดนุเดช วงศ์เวชวิวัฒน์, ใจนุช กาญจนภู, สุวภาพ เตชะมหามณีรัตน์, พิธาน โฆษิตชัยวัฒน์, ธีรารัตน์ แทนขำ ...264]]>
สำนักวิชาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต]]> 2022]]> PDF]]> Thai]]> วารสารวิชาการ]]>
วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย]]> - ปัจจัยทำนายการกลั่นแกล้งและถูกกลั่นแกล้งทางไซเบอร์ของนักเรียนในภาคกลางของประเทศไทย โดย ปัญจรัตน์ ไล้สุวรรณชาติ, ธานินทร์ สุธีประเสริฐ, สุภาพร บุญศิริลักษณ์ ...100
- ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะแมกนีเซียมในเลือดต่ำกับความรุนแรงของภาวะขาดสุราในผู้ป่วยอุบัติเหตุธนวัฒน์ พีรวงศ์114การศึกษาพฤติกรรมการฆ่าตัวตายและทำร้ายตนเองของผู้ป่วยออทิสติก ในโรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์อนัญญา สินรัชตานันท์ ...125
- ความชุกของภาวะซึมเศร้าและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ได้รับ การรักษาด้วยการฟอกเลือด คลินิกไตเทียม โรงพยาบาลสกลนครขจรศักดิ์ วรรณทอง...137
- ภาวะหมดไฟและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของบุคลากรสาธารณสุขจากการระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดย วรวรรณ จุฑา, พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, กมลลักษณ์ มากคล้าย, นพพร ตันติรังสี ...147
- ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความลังเลใจและความต้องการรับวัคซีนโควิด 19โดย ชิโนรส ลี้สวัสดิ์, เทอดศักดิ์ เดชคง, ลือจรรยา ธนภควัต ...161]]>
สำนักวิชาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต]]> 2022]]> PDF]]> thai]]> วารสารวิชาการ]]>
วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย]]> - ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมต่อความสามารถด้านการกำกับอารมณ์ในวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเล่นเกมผิดปกติ โดย ภิญโญ อิสรพงศ์, นิศา สุขตระกูล, ดารกา แสงสุขใส, พักตร์ชนก เทียนวิหาร...13
- คุณสมบัติการวัดทางจิตวิทยาของมาตรวัดการเสพติดซื้อสินค้าออนไลน์สำหรับผู้ใหญ่วัยทำงาน โดยปริยานุช วุฒิ ชูประดิษฐ์, สุภัทร ชูประดิษฐ์, ชูชัย สมิทธิไกร...24
- คุณภาพของแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น ฉบับภาษาไทย ในบริบทโรงเรียน โดย วิมลวรรณ ปัญญาว่อง, โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ, รัตนศักดิ์ สันติธาดากุล...38
- ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการปรับตัวในครอบครัวและชุมชนตามแนวคิดของรอย สำหรับผู้ป่วยติดสุราหลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล โดย บุษกร สมบูรณ์, สุนทรี ศรีโกไสย ...49
- ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความเมตตากรุณาต่อตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 5 ในเขตกรุงเทพมหานคร โดย อภิชญา รักการ, สุพร อภินันทเวช, พิชัย อิฏฐสกุล, วัลลภ อัจสริยะสิงห์...64
- การสำรวจระดับชาติเพื่อศึกษาระดับความสุขคนไทยรายจังหวัด ปี พ.ศ. 2561 โดย เบ็ญจมาส พฤกษ์กานนท์, พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, อธิบ ตันอารีย์, บังอร สุปรีดา...75
]]>
สำนักวิชาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต]]> 2022]]> PDF]]> thai]]> วารสารวิชาการ]]>
สุขภาพจิต -- ประชุม]]> เพื่อเป็นการนําเสนอ แลกเปลี่ยนและรวบรวมองค์ความรู้ที่สําคัญของกรมสุขภาพจิต]]> สำนักวิชาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ]]> 2022]]> PDF]]> Thai]]> Book]]>
ประพันธ์ และ ขับร้องโดย บิทเติ้ล (ผู้ขับร้องเพลง ห้านาทีบรรลุธรรม)

เมื่อท้องฟ้าที่เคยสดใส มาเปลี่ยนสีไปในพริบตา
ต้องทำเช่นไร ถึงจะฟันฝ่า ช่วงเวลาที่เลวร้ายได้
ให้เธอค้นหัวใจดูสักนิด หนึ่งชีวิตมีค่ามากมาย
น้ำตาที่หลั่งไหลมาเป็นสาย
ให้มันล้างตาจนมองได้อย่างชัดเจน

ตรองให้ดี สิ่งใดที่มี
ที่เธอสามารถเอามาใช้เพื่อนำมาสู้ปัญหา
เธอมีพลัง และคุณค่า
ขอเพียงแต่เธออย่าเพิ่งเลิกรา อย่าเพิ่งถอดใจหรือท้อ

(*) วันที่ฟ้าเปลี่ยนสี เธอยังมีความหวัง
มีพลังจะก้าวเดินต่อ
ถ้าอ่อนล้าให้นึกถึงคนที่รอ หนอกำลังใจที่มี
(พลังที่ตัวของเธอนั้นมี)
วันที่โลกเปลี่ยนผัน เธอยังมีความฝัน
หากตะวันสิ้นแสงริบหรี่
เมื่อความมืดผ่านพ้น เบื้องบนย่อมมี
แสงทองที่ส่องจากฟ้ามาที่เรา

เมื่อท้องฟ้าที่เคยสดใส มาเปลี่ยนสีไปในพริบตา
ขอจงมั่นใจ ว่าจะฟันฝ่า ช่วงเวลาที่เลวร้ายได้
ให้เธอใช้หัวใจและสมอง จะมองเห็นหนทางมากมาย
ก้าวไปข้างหน้า มุ่งสู่จุดหมาย
ที่เธอวาดหวังวางไว้ได้อย่างชัดเจน

ตรองให้ดี สิ่งใดที่มี
ที่เธอสามารถเอามาใช้เพื่อนำมาสู้ปัญหา
เอาพลังและคุณค่า
ของเธอออกมาเพื่อช่วยปลอบโยนหัวใจใครๆ ที่ท้อ

(*)

อึดฮึดสู้ต่อไปหัวใจไม่หวั่น
เพราะสักวันเราจะผ่านพ้นไปด้วยกัน]]>
สำนักวิชาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต]]> 2020-08-11]]> 2020-08-11]]> ]]> video]]> Thai]]> video]]>
สำนักวิชาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต]]> 2020-10-03]]> 2020-10-03]]> ]]> video]]> Thai]]> video]]>
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ตระหนักถึงความาสำคัญของสถานการณ์ปัญหา ดังกล่าว จึงได้พัฒนาองค์ความรู้“การสนทนาเพื่อสร้างแรงจูงใจ (Motivation Interview: MI)” เพื่อเป็นเครื่องมือสาคัญในการแก้ปัญหาผู้ลังเลใจในการฉีดวัคซีนโควิด 19 โดย ความร่วมมือของ ศูนย์สุขภาพจิต โรงพยาบาล/สถาบัน ในสังกัดกรมสุขภาพจิต พบว่าการสนทนา เพื่อสร้างแรงจูงใจนั้น มีผลทให้เพิ่มการยอมรับและตัดสินใจฉีดวัคซีนโควิด 19 ได้มากขึ้น กว่าร้อยละ 75 ซึ่งจากประสิทธิผลของการดำเนินงานดังกล่าว กรมสุขภาพจิตจึงได้นำองค์ความรู้เรื่องการสนทนาเพื่อสร้างแรงจูงใจ มาเรียบเรียงเป็น “หลักสูตรการสนทนา เพื่อสร้างแรงจูงใจ สำหรับผู้ลังเลใจในการฉีดวัคซีน โควิด 19” โดยมีขั้นตอนสำคัญ ในการแนะนำและให้ข้อมูลที่ถูกต้อง (Vaccine Advice: VA) และสร้างแรงจูงใจใน การฉีดวัคซีน (Vaccine Intervention: VI) โดยมีเป้าหมายให้บุคลากรสุขภาพจิตได้ศึกษาเรียนรู้ และนำไปใช้ในการอบรมให้กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอาสาสมัครสาธารณสุข เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถเข้าถึงบริการการฉีดวัคซีนได้มากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุผู้ป่วยติดเตียง ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหลักสูตรดังกล่าว จะเป็นทั้งคู่มือการปฏิบัติงานในพื้นที่ และคู่มือสำหรับคนไทยทุกคนใช้ชีวิตด้วยความตระหนักแต่ ไม่ตระหนก และมีความปลอดภัยทั้งสุขภาพกายและจิต ซึ่งจะช่วยให้สามารถเปิดประเทศได้อย่างปลอดภัย กลับมาใช้ชีวิตอย่างมีความสุขด้วยวิถี New normal



]]>
สำนักวิชาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต]]> 2021-12]]> 2021-12]]> PDF]]> Thai]]> หนังสือ]]>